|

 |
|
 |
|
 |
|
 |
|
 |
|
|
|
เริ่มนับ วันที่ 13 ก.ย. 2561 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สมัยก่อนตำบลบ่อทองแยกมาจากตำบลพันเสา และส่วนใหญ่มีบ่อเลี้ยงปลา อยู่หลายแห่ง/หมู่บ้าน รวมแล้วเกือบ 100 แห่ง ซึ่งประกอบกับมีการเลี้ยงไก่เนื้อบนบ่อเลี้ยงปลา ซึ่งทำให้เศรษฐกิจของตำบล มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เพราะอาชีพการเลี้ยงปลาและเลี้ยง
ไก่ จึงเป็นที่มาของชื่อตำบลบ่อทอง กำนันคนแรกของตำบลคือ นายบุญมี คีรีนทร์ |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อทอง ได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลบ่อทองเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล
บ่อทองตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2540 |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อทอง ตั้งอยู่ที่บ้านหนองตาเขียว หมู่ที่ 3 ตำบลบ่อทอง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก
มีเนื้อที่ประมาณ 29,556 ไร่ หรือประมาณ 47.29 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอบางระกำ ประมาณ 17 กิโลเมตร
และห่างจากตัวจังหวัดพิษณุโลก ประมาณ 30 กิโลเมตร |
|
|
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.ปลักแรด,ต.วังอิทก อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
|
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.หนองหลุม อ.วชิรบารมี จ.พิจิตร |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.วังอิทก อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
ต.กำแพงดิน อ.สามง่าม จ.พิจิตร |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
|
|
|
|
     |
|
 |
 |
 |
|
|
|
|
ตำบลบ่อทอง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ เป็นที่ราบลุ่มเหมาะสมต่อการพัฒนาด้านการเกษตรซึ่ง
เป็นอาชีพหลักของ
ประชาชนในพื้นที่ พื้นที่มีลำคลองไหลผ่านในหลายหมู่บ้านเชื่อมต่อกัน ซึ่งเป็นแหล่งน้ำตามธรรมชาติ สามารถนำมาใช้เพื่อการ
อุปโภค บริโภค และการเกษตรได้ มีอ่างเก็บน้ำ และสระเก็บน้ำทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ อย่างไรก็ดี ยังมีพื้นที่การเกษตรบาง
ส่วนเป็นที่ลุ่ม ดอน สภาพดินเป็นดินเหนียวและดินทราย ขาดความอุดมสมบูรณ์ มีบึง หนองน้ำ สระ ที่สามารถกักเก็บน้ำไว้ใช้
กระจายอยู่ทุกหมู่บ้านแต่ส่วนใหญ่มีสภาพตื้นเขิน ยากต่อการผันน้ำเข้าสู่แหล่งกักเก็บน้ำแห่งอื่น และพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่นอกเขตชล
ประทาน |
|
|
|
|
|
ลักษณะทางภูมิอากาศมี 3 ฤดู คือ |

 |
ฤดูร้อน |
เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม |

 |
ฤดูฝน |
เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน - ตุลาคม |

 |
ฤดูหนาว |
เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชากรประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ |

 |
ทำนา |

 |
ทำไร่ |

 |
เลี้ยงสัตว์ |

 |
ทำสวน |
รองลงมา ได้แก่ |

 |
อาชีพรับจ้าง |

 |
รับราชการ |

 |
ธุรกิจ ร้านค้าขนาดเล็ก |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 4,431 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 2,222 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.15 |

 |
หญิง จำนวน 2,209 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.85 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,336 ครัวเรือน |
ความหนานแน่นเฉลี่ย 93.70 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านหนองบัว |
170 |
176 |
346 |
112 |
|
 |
2 |
|
บ้านบ่อทอง |
186 |
213 |
399 |
135 |
 |
|
3 |
|
บ้านหนองตาเขียว |
146 |
137 |
283 |
97 |
|
 |
4 |
|
บ้านโพธิ์ประสาท |
321 |
290 |
611 |
190 |
 |
|
5 |
|
บ้านกวางอั้น |
191 |
213 |
404 |
124 |
|
 |
6 |
|
บ้านหนองนา |
379 |
400 |
779 |
217 |
 |
|
7 |
|
บ้านดงยาง |
239 |
228 |
464 |
131 |
|
 |
8 |
|
บ้านหนองนางนวล |
144 |
104 |
248 |
72 |
 |
|
9 |
|
บ้านหนองอ้อ |
246 |
231 |
477 |
128 |
|
 |
10 |
|
บ้านดอนอภัย |
203 |
217 |
420 |
130 |
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
รวม |
2,222 |
2,209 |
4,431 |
1,336 |
 |
|
|
 |

 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|